fbpx

ไวร์เมชไฟเบอร์

แชร์ให้เพื่อน

ไวร์เมชไฟเบอร์

ไวร์เมชไฟเบอร์ คือการนำไฟเบอร์ชนิดหน่ึง ซึ่งเป็นไฟเบอร์ ประเภท FRP ( Fiber Reinforce Polymer ) คือ พอลิเมอร์เสริมไฟเบอร์ มาทำการเชื่อมติดกันเป็นแผง คล้ายกับไวร์เมชประเภทเหล็ก และนำไปใช้งานเหมือนกับเหล็กไวร์เวช แต่มีข้อดีกว่าหลายอย่างเช่น น้ำหนักเบา ขนส่งง่าย ไม่เกิดสนิม เป็นต้น

ไวร์เมชไฟเบอร์มีทั้งแบบม้วนและแบบแผง เหมือนกับไวร์เมชแบบเหล็กปกติ

ดาวน์โหลด PDF

คุณสมบัติของ Wire Mesh Fiber
– Wire Mesh Fiber ไวร์เมชไฟเบอร์ มีราคาถูกกว่าเหล็ก
– Wire Mesh Fiber ไวร์เมชไฟเบอร์ ไม่เป็นสนิม ทนต่อสภาวะ กรดและด่างของคอนกรีตและการกัดกร่อน
– Wire Mesh Fiber ไวร์เมชไฟเบอร์ รับแรงดึง 2 เท่าของเหล็กที่ขนาดเท่ากันทำให้สามารถลดขนาดวัสดุลงได้ (High Tensile strength)
– Wire Mesh Fiber ไวร์เมชไฟเบอร์มีแรงยึดเหนี่ยวที่ 80 กิโลกรัม/ตร.ซม.ทำให้ยึดติดกับคอนกรีตได้ดีกว่าเหล็ก (High Bonding strength)
– Wire Mesh Fiber ไวร์เมชไฟเบอร์ มีอัตราการขยายตัว 2 – 6% เท่าคอนกรีตทำให้ลดโอกาสการแตกร้าว
– Wire Mesh Fiber ไวร์เมชไฟเบอร์ อายุการใช้งานมากกว่าเหล็ก ช่วยยืดอายุสิ่งก่อสร้าง
– Wire Mesh Fiber ไวร์เมชไฟเบอร์ น้ำหนักเบากว่าเหล็ก 7 เท่า
– Wire Mesh Fiber ไวร์เมชไฟเบอร์ มีน้ำหนักเบาทำให้สามารถขนส่งได้ครั้งละจำนวนมากลดค่าใช้จ่ายด้านการขนส่ง
– Wire Mesh Fiber ไวร์เมชไฟเบอร์ มีน้ำหนักเบาทำให้ใช้งานง่ายและประหยัดแรงงานในการติดตั้ง
– Wire Mesh Fiber ไวร์เมชไฟเบอร์ ลดเวลาในการทำงาน
– Wire Mesh Fiber ไวร์เมชไฟเบอร์ ประหยัดค่าใช้จ่าย อุปกรณ์ตัด ผูก ประหยัดต้นทุนอย่างมีประสิทธิภาพ
– Wire Mesh Fiber ไวร์เมชไฟเบอร์ ผลิตได้หน้ากว้าง , ความยาว ตามต้องการทำให้ลดการสูญเสียระยะการต่อทาบ
– Wire Mesh Fiber ไวร์เมชไฟเบอร์ ระยะการต่อทาบ 1 ช่องตะแกรง

 

ลดต้นทุน การก่อสร้างด้วย นวัตกรรม FRP ไวร์เมชไฟเบอร์ ,รีบาร์ไฟเบอร์ ( Wiremesh Fiber , Rebar Fiber )

 

Fiber Rebar และ Wiremesh Fiber เกิดจากการขึ้นรูปอย่างต่อเนื่องของเส้นใยชนิดพิเศษคุณภาพสูงผสมกับเคมีคุณภาพสูง ผ่านกระบวนการขึ้นรูปจากของเหลวเป็นของแข็งด้วยระบบความร้อน ( Thermosetting ) ทำให้ได้วัสดุที่มีความแข็งและเหนียวที่มีคุณสมบัติใช้งานทดแทนเหล็กข้ออ้อยก่อสร้างในงานคอนกรีตไม่อัดแรงได้อย่างมีประสิทธิภาพตาม มาตรฐาน มอก.2973/2562

– ใช้งานได้เทียบเท่าเหล็ก ตามมาตรฐาน มอก.กำหนด ( Substitute for steel rebar )
– ไม่เป็นสนิม ทนต่อสภาวะ กรดและด่างของคอนกรีตและการกัดกร่อน
– รับแรงดึง 2 เท่าของเหล็กที่มีขนาดเท่ากัน ทำให้สามารถลดขนาดวัสดุลงได้ ( High Tensile Strength )
– แรงยึดเหนี่ยวที่ 80 กิโลกรัม/ตร.ซม. ทำให้ยึดติดคอนกรีตได้ดีกว่าเหล็ก ( High Bonding Strength )
– อายุการใช้งานมากกว่าเหล็ก ช่วยยืดอายุสิ่งก่อสร้าง
– น้ำหนักเบา Light weight ใช้งานง่าย ประหยัดแรงงานในการก่อสร้าง ประหยัดเวลาในการทำงาน
– ประหยัดค่าใช้จ่าย อุปกรณ์ตัดผูก ทำให้เกิดการลดต้นทุนอย่างมีประสิทธิภาพ
– ไม่นำความร้อนและกระแสไฟฟ้า วัสดุมีความเป็นฉนวนไม่สะสมความร้อนและไม่นำกระแสไฟฟ้า
– เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม ไม่ก่อให้เกิดมลภาวะ
– จัดเก็บขนส่งสะดวก สามารถจัดส่งเป็นม้วนและขนส่งได้ในปริมาณมาก ลดต้นทุนค่าขนส่ง
– ผลิตได้ตามความต้องการ สามารถสั่งผลิตได้ตามขนาดที่ลูกค้าต้องการเพื่อลดประมาณของเสีย


ผล TEST Wiremesh Fiber
ผลทดสอบคุณสมบัติด้านแรงดึงของ Rebar Fiber
AIT (Asian Institute of Technology. )
Thammasat University Faculty of Engineering Civil Engineering Laboratory.

คุณสมบัติของ FRP Rebar , Rebar Fiber
ใช้งานได้เทียบเท่าเหล็ก ตามมาตรฐาน มอก. (Substitute for steel rebar) มีผลทดสอบจาก AIT และ คณะ วิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

Rebar Fiber มีราคาถูกกว่าเหล็ก

Rebar Fiberไม่เป็นสนิม ทนต่อสภาวะ กรดและด่างของคอนกรีตและการกัดกร่อน

Rebar Fiber รับแรงดึง 2 เท่าของเหล็กที่ขนาดเท่ากันทำให้สามารถลดขนาดวัสดุลงได้ (High Tensile strength)

Rebar Fiber มีแรงยึดเหนี่ยวที่ 80 กิโลกรัม/ตร.ซม.ทำให้ยึดติดกับคอนกรีตได้ดีกว่าเหล็ก (High Bonding strength) Rebar Fiber มีอัตราการขยายตัว 2 – 6% เท่าคอนกรีตทำให้ลดโอกาสการแตกร้าว

Rebar Fiber อายุการใช้งานมากกว่าเหล็ก ช่วยยืดอายุสิ่งก่อสร้าง

Rebar Fiber น้ำหนักเบากว่าเหล็ก 7 เท่า

Rebar Fiber มีน้ำหนักเบาทำให้สามารถขนส่งได้ครั้งละจำนวนมากลดค่าใช้จ่ายด้านการขนส่ง

Rebar Fiber มีน้ำหนักเบาทำให้ใช้งานง่ายและประหยัดแรงงานในการติดตั้ง

Rebar Fiber ลดเวลาในการทำงาน

Rebar Fiber ประหยัดค่าใช้จ่าย อุปกรณ์ตัด ผูก ประหยัดต้นทุนอย่างมีประสิทธิภาพ

Rebar Fiber ผลิตได้ความยาวตามต้องการทำให้ลดการสูญเสียระยะการต่อทาบ

 

Cbar ไวร์เมชไฟเบอร์ แบบม้วน และ แบบแผง
การใช้งาน Cbar ไวร์เมชไฟเบอร์นั้น จะเป็นการเทียบใช้กับขนาดความโตของเหล็กเส้น หรือ เทียบใช้กับขนาดความโต ของไวร์เมชเหล็ก ขึ้นอยู่กับผู้ออกแบบคำนวณการรับแรงดึงของการนำมาใช้งาน โดยขนาดของ Cbar ไวร์เมชไฟเบอร์นั้นจะมีขนาดเล็กกว่า เนื่องจากมีแรงดึงที่สูงกว่าเหล็กเส้นถึง 2 เท่า ในขนาดความโตเท่ากัน

1. Cbar ไวร์เมชไฟเบอร์ ขนาด 2.8 mm. แรงดึงเทียบเท่า เหล็กเส้น RB4 SR24 ผิวเรียบ
ขนาดและช่องตะแกรง Cbar ไวร์เมชไฟเบอร์
CB 2.8mm.@15×15
CB 2.8mm.@20×20
CB 2.8mm.@25×25
CB 2.8mm.@30×30

2. Cbar ไวร์เมชไฟเบอร์ ขนาด 3.5 mm. แรงดึงเทียบเท่า เหล็กเส้น RB6 SR24 ผิวเรียบ หรือ CCD4 SD55
ขนาดและช่องตะแกรงของ Cbar ไวร์เมชไฟเบอร์
CB 3.5 mm.@15×15
CB 3.5 mm.@20×20
CB 3.5 mm.@25×25
CB 3.5 mm.@30×30

3. Cbar ไวร์เมชไฟเบอร์ ขนาด 4.5 mm. แรงดึงเทียบเท่า เหล็กเส้น CCD6 SD55 ข้ออ้อย
ขนาดและช่องตะแกรงของ Cbar ไวร์เมชไฟเบอร์
CB 4.5 mm.@15×15
CB 4.5 mm.@20×20
CB 4.5 mm.@25×25
CB 4.5 mm.@30×30

4. Cbar ไวร์เมชไฟเบอร์ ขนาด 5.5 mm. แรงดึงเทียบเท่า เหล็กเส้น RB9 SR24 ผิวเรียบ หรือ CCD7 SD55
ขนาดและช่องตะแกรงของ Cbar ไวร์เมชไฟเบอร์
CB 5.5 mm.@15×15
CB 5.5 mm.@20×20
CB 5.5 mm.@25×25
CB 5.5 mm.@30×30

5. Cbar ไวร์เมชไฟเบอร์ ขนาด 6.7 mm. แรงดึงเทียบเท่า เหล็กเส้น CCD8.7 SD55 ข้ออ้อย
ขนาดและช่องตะแกรงของ Cbar ไวร์เมชไฟเบอร์
CB 6.7 mm.@15×15
CB 6.7 mm.@20×20
CB 6.7 mm.@25×25
CB 6.7 mm.@30×30

6. Cbar ไวร์เมชไฟเบอร์ ขนาด 7.5 mm. แรงดึงเทียบเท่า เหล็กเส้น DB10 SD40
ขนาดและช่องตะแกรงของ Cbar ไวร์เมชไฟเบอร์
CB 7.5 mm.@15×15
CB 7.5 mm.@20×20
CB 7.5 mm.@25×25
CB 7.5 mm.@30×30

7. Cbar ไวร์เมชไฟเบอร์ ขนาด 10 mm. แรงดึงเทียบเท่า เหล็กเส้น DB12 SD40
ขนาดและช่องตะแกรงของ Cbar ไวร์เมชไฟเบอร์
CB 10 mm.@15×15
CB 10 mm.@20×20
CB 10 mm.@25×25
CB 10 mm.@30×30

 

ลักษณะการใช้งานไวร์เมชไฟเบอร์

ไวร์เมชไฟเบอร์
ไวร์เมชไฟเบอร์ใช้งานแบบเดียวกับไวร์เมชแบบเหล็ก คือใช้รองพื้นก่อนเทคอนกรีต

 


ประเภทของไวร์เมชไฟเบอร์ 

  • ไวร์เมชไฟเบอร์แบบม้วน
  • ไวร์เมชไฟเบอร์แบบแผง

 

ไวร์เมชไฟเบอร์แบบม้วน
Wiremesh Fiber ไวร์เมชไฟเบอร์ สำเร็จรูป ชนิดม้วน ใช้งานได้เทียบเท่าเหล็ก ตามมาตรฐาน มอก.กำหนด แรงยึดเหนี่ยว 80 กิโลกรัม/ตร.ซม. สั่งผลิตได้ตามขนาดที่ต้องการ


ไวร์เมชไฟเบอร์ แผง
Wiremesh Fiber ไวร์เมชไฟเบอร์ สำเร็จรูป ชนิดแผง ใช้งานได้เทียบเท่าเหล็ก ตามมาตรฐาน มอก.กำหนด แรงยึดเหนี่ยว 80 กิโลกรัม/ตร.ซม. สั่งผลิตได้ตามขนาดที่ต้องการ


การใช้งานไวร์เมชไฟเบอร์ 

#ไวร์เมชไฟเบอร์ #ไฟเบอร์ไวร์เมช


แชร์ให้เพื่อน